SA Gaming
SA Gaming
Sexy Baccarat
Sexy Baccarat
WM Casino
WM Casnio
eBET
eBet
BG Big Gaming
BIG Gaming
Pretty Gaming
Pretty Gaming
Dream Gaming
Dream Gaming

บทความทั่วไป

Portfolio ทั้ง 10 หน้า

เผยแพร่เมื่อ 4 พฤษภาคม 2021

Portfolio ทั้ง 10 หน้า

Portfolio ทั้ง 10 หน้า จำเป็นต้องมีอะไรบ้าง เตรียมเอาไว้ยื่น TCAS รอบแรก เรียกว่าเป็นด่านแรกของ TCAS เลยทีเดียวสำหรับ ที่ให้น้องๆ ที่มีความสามารถพิเศษได้ยื่นเข้าได้นั่นเอง ซึ่งสิ่งที่เป็นเรื่องสำคัญสำหรับรอบ Portfolio นั่นก็คือ เนื้อหาเอกสารใน Portfolio ทั้ง 10 หน้านั่นเอง

TCAS รอบ Portfolio คืออะไร และ เนื้อหาใน Portfolio ทั้ง 10 หน้าจำเป็นต้องมีอะไรบ้าง วันนี้ Sanook Campus เราได้รวบรวมข้อมูลสำหรับยื่น รอบ Portfolio มาฝากกัน

 Portfolio ทั้ง 10 หน้า

รูปแบบที่ 1

ไม่ใช้คะแนนสอบ

เอกสารที่จัดส่งไม่เกิน 10 หน้ากระดาษ A4 (ไม่รวมปก)

ถ้าจะใช้คะแนน GPAX จะเป็นคะแนน 4 ภาคเรียน หรือ 5 ภาคเรียน

รายละเอียดอื่นๆ นำมาเพิ่มเติมในวันสอบสัมภาษณ์ได้

กลุ่มเป้าหมาย : นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ

การกำหนดองค์ประกอบ/เกณฑ์ : สาขาวิชา

วิธีการ

  • สถาบันอุดมศึกษากำหนดเกณฑ์การคัดเลือกโดยไม่มีการสอบ
  • สามารถ Pee-Screening แล้วสัมภาษณ์ได้
  • ส่งชื่อเข้าระบบการบริหารจัดการสิทธิ์

เนื้อหาใน Portfolio ทั้ง 10 หน้าจำเป็นต้องมีอะไรบ้าง

  • หน้า 1 ประวัติส่วนตัว
  • หน้า 2 ประวัติการศึกษา
  • หน้า 3 เหตุผลการเลือกคณะ / มหาวิทยาลัย
  • หน้า 4-7 เกียรติบัตร ผลงาน
  • หน้า 8-10 กิจกรรมต่างๆ

ความสำคัญของ Portfolio กับการเข้ามหาวิทยาลัย

ก่อนอื่นต้องบอกว่านี้เป็นงานเขียนชิ้นแรกของทาง Mission to the Moon เลยก็ว่าได้ ที่เกี่ยวกับเรื่อง การเรียนการศึกษา โดยพูดถึงในมุมของน้องๆ ที่กำลังจะต้องเตรียมตัวเข้ามหาวิทยาลัย

เรื่องเกิดจากผมได้รับเชิญให้ไปร่วมฟัง Workshop ที่ทาง Brand Summer Camp+ ได้จัดขึ้น เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม ที่ผ่านมา ภายในงานก็มีวิทยากรจากหลากหลายสาขาอาชีพมาเล่าถึงประสบการณ์ที่น่าสนใจให้น้องๆ ได้เรียนรู้ และพร้อมที่จะ “อัพเกรดสมอง พร้อมพิชิตทุกฝัน” แทงบอลออนไลน์ ที่นี่ufa

โดยพาร์ทที่ทางผมได้เข้าไปร่วมฟังนั้น เป็น Workshop ของคุณ ด๋อน เรืองชาย สุพรรณพงศ์ Chief Disruption Officer Bar B Q Plaza

คุณด๋อน เล่าถึงประสบการณ์ที่น่าสนใจที่ได้ลองผิดลองถูกในการพัฒนาและหา Innovation ใหม่ๆ ให้กับ BBQ โดยใช้หลักของ Design Thinking มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา และเมื่อได้ไอเดียที่ต้องการ ก็ให้ทำ Prototype เพื่อทำสิ่งที่เราคิดให้ออกมารูปเป็นร่าง โดยใช้วิธีคิดของการ fail fast, fail cheap (ล้มให้เร็ว, ล้มให้ถูก)

โดยใน Workshop คุณด๋อนได้รวมเอาแนวคิดที่น่าสนใจเหล่านี้ มาถ่ายทอดในแง่ของการออกแบบ Portfolio และออกการออกแบบชีวิตให้กับน้องๆ ที่กำลังจะต้องเตรียมตัวเข้ามหาวิทยาลัย

“Portfolio” คือ เอกสารที่เราออกแบบได้

Portfolio คือการรวบรวมเรื่องราวต่างๆ ที่สามารถอธิบายถึงความเป็นตัวตนของเรา เป็นตัวแทนที่จะบอกเล่าถึงเรื่องต่างๆ ที่ผ่านมาว่าเราเคยทำอะไรมาบ้าง และ ทำอะไรได้บ้าง คีย์เวิร์ดสำคัญของการสร้าง Portfolio คือ “การทดลองทำ” เพื่อให้สิ่งที่เหล่านั้นกลายมาเป็นประสบการณ์ที่เราอยากจะเอาไปใส่ลง Portfolio

เริ่มแรกคุณด๋อนพูดถึงสิ่งหลักสำคัญที่เราต้องเข้าใจก่อนก็คือหลักของ “Design Thinking”

เพื่อที่จะได้นำมาใช้เป็นแกนกลางในการออกแบบ Portfolio ซึ่งมีดังนี้ 

Empathize | เข้าใจ/เอาใจใส่ : สำรวจและเรียนรู้เกี่ยวกับ Audience เพื่อที่เราจะได้เข้าใจความต้องการของเขาอย่างแท้จริง

Define | ระบุความต้องการ : หาปัญหาและระบุความต้องการของ Audience ให้เจอ อะไรกันแน่ที่พวกเขากำลังมองหาอยู่

Ideate | ท้าทายสมมติฐานและสร้างสรรค์ไอเดีย : จากข้อมูลที่ได้มาจากการทำ Empathize และ Define ให้เรานำมาคิดและวิเคราะห์ให้ละเอียดอย่าเพิ่งด่วนสรุป แต่จงลองท้าทายสมมติฐานต่างๆ ให้มากที่สุด

Prototype | เริ่มต้นสร้างโซลูชั่น : สิ่งที่เป็นเป้าหมายสำคัญของขั้นตอนนี้ก็คือ การระบุทางออกที่ดีที่สุดที่เท่าที่จะเป็นไปได้ โดยจะเริ่มทดลองสร้างสินค้าหรือบริการต้นแบบโดยใช้งบน้อยๆ และเลือกหยิบคุณสมบัติที่สำคัญๆ ของโปรดักซ์มาลองสร้างเป็นต้นแบบดูก่อน

Test | ทดสอบ : นี่เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทำ Design Thinking นั้นก็คือการทดลองนำ Prototype ที่ได้นั้นมาใช้งานทดสอบดูจริงๆ ว่ามันออกมาอย่างที่ Audience หรือ เราต้องการหรือเปล่า เป็นไปตามที่คิดไหม และหากมีปัญหาเกิดขึ้นในขั้นนี้ให้เราวนลูบไปที่ข้อหนึ่งอีกครั้ง

เมื่อเราใจถึงหลักการคร่าวๆ ของ Design Thinking แล้ว

ตอนนี้ก็ถึงเวลานำหลักของ Design Thinking มาปรับใช้กับการทำ Portfolio

โดยเริ่มจาก 

1. Empathize | คนอ่านพอร์ตของเรา “เขาต้องการอะไร”

ข้อแรกเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญมาก เพราะถ้าเราเริ่มต้นผิด ข้อที่เหลือก็ผิดวัตถุประสงค์ไปด้วย เปรียบเสมือนการติดกระดุมเม็ดแรก ดังนั้นจงหาคำตอบด้วยการพูดคุยที่ทำอาชีพนี้ (ในกรณีทำ Porfolio เพื่อสมัครงาน) หรือสำหรับน้องๆ  ก็สามารถหาคำตอบนี้ได้จากการคุยกับรุ่นพี่หรืออาจารย์คณะที่อยากเข้า ว่าคณะนี้เขามองหาอะไร

2. Define | ระบุสิ่งที่เขาต้องการ

หลังจากที่เราได้เข้าไปพูดคุยมาเรียบร้อย เราจะได้รับข้อมูลมาชุดหนึ่ง จากนั้นให้เราระบุสิ่งที่เขาต้องการออกมาโดยการเขียนลงมาเป็นข้อๆ

3. Ideate | สร้างสรรค์ผลงานแบบ “โม้ไปก่อน”

เมื่อเราได้เริ่มทำข้อ 1-2 แล้ว ลองคิดดูว่า กิจกรรมแบบไหนหรือประสบการณ์อะไรที่เราควรมี เพื่อที่จะได้เข้าข่าย “คนนั้น” ที่อาจารย์คณะนั้น (หรือคนที่อ่านพอร์ตของเรา) ตามหา ซึ่งตรงนี้ไม่มีถูกหรือผิด เราสามารถโม้ขึ้นมาได้เต็มที่ เพราะขั้นตอนนี้เป็นเพียงการตั้งสมมติฐาน

4. Prototype | สร้างต้นแบบให้พอร์ตโฟลิโอ

ขั้นตอนนี้คือการที่เรานำสิ่งที่เราโม้ไว้ไปเขียนใส่ลงในพอร์ตของเราเหมือนกับว่าเราได้ไปทำกิจกรรมเหล่านั้นมาแล้ว (ทั้งที่ความจริงแล้วเราอาจจะยังไม่เคยทำเลยก็ได้) แต่ให้เขียนมันลงไปก่อนเพื่อที่จะได้มันออกมาเป็นต้นแบบของพอร์ตโฟลิโอของเรา

เมื่อเรามีพอร์ตโฟลิโอแล้ว ลองนำพอร์ตที่เรา “โม้” ขึ้นมา ไปปรึกษาอาจารย์หรือรุ่นพี่ในข้อที่ 1 ว่าพอร์ตของเราดีไหม สิ่งที่เราได้ทำไปเป็นสิ่งที่เขากำลังมองหาหรือยัง ถ้าดีแล้วก็เยี่ยมเลย เราจะได้นำ Prototype อันนี้ไปพัฒนาต่อให้เป็นของจริง แต่ถ้ายังไม่ดี ก็แค่เริ่มต้นทำ Prototype อันใหม่เท่านั้นเอง

ขั้นตอนนี้แหละครับ คือตัวอย่างที่ดีในการอธิบายคำว่า​ “fail cheap” คือล้มให้มีราคาถูกที่สุด

5. Test | ลองทำจริง

คือการนำ Prototype พอร์ตโฟลิโอของเรานั่นแหละไปลองทำจริง นำสิ่งที่เราเคยโม้ไว้ไปหาหนทางทำมันออกมา ไปลองเรียนรู้มันด้วยตัวเอง ไปทำกิจกรรมเหล่านั้น ทำจนมันกลายเป็นประสบการณ์ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของพอร์ตโฟลิโอ และเป็นส่วนที่จะได้ทดสอบว่าสิ่งนี้เป็นไปที่คาดไหม ตรงกับสิ่งที่คนอ่านพอร์ตของเราต้องการจริงๆ หรือเปล่า

และหลังจากที่เรานำ prototype ของพอร์ตโฟลิโอเราไปลองทำจริงแล้ว ต้องไม่ลืมที่จะนำสิ่งนั้นไปปรับปรุง แก้ไข และทำใหม่เรื่อยๆ จนกว่าพอร์ตของเราจะออกมาเจ๋งสุดๆ 

อ่านเพิ่มเติม หนังไทย Jokergame Joker Gamimg pg slot สล็อต

อัพเดทล่าสุด : 20 สิงหาคม 2021